วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา 


ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Microbiology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต(จุลชีววิทยา)
ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ.(จุลชีววิทยา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Microbiology)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Microbiology)

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 13,000 บาท

ความสำคัญ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาจุลชีววิทยา ที่มีความรู้ความเข้าใจกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถสืบค้นข้อมูล นำมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม มีจิตสำนึกของความเป็นพลเมืองดีที่สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อสังคม และมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองภายใต้กรอบศีลธรรมจรรยาอันดีงามเพื่อนำพาประเทศสู่การพัฒนา
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา สามารถประกอบอาชีพต่างๆ เช่น อาจารย์ นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักจุลชีววิทยาในส่วนราชการ องค์กรเอกชน และธุรกิจส่วนตัว ที่ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านจุลชีววิทยา
จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร
-
รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร(หมวดวิชาเฉพาะ,วิชาพื้นฐาน,วิชาบังคับ,วิชาเลือก)
-
รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร(หมวดวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ)
-
แผนการศึกษา
-

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร(ประธาน)   ผศ.ดร.จิดาภา แสงสวันต์

Microbiology, Ethanol fermentation, Yeast Genetics

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ดร.พิชญาภรณ์ สุวรรณกูฎ

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ดร.ศศิธร หล่อเรืองศิลป์

ทุนวิจัยร่วมกับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จ. อุบลราชธานี “การตรวจวินิจฉัยหาไวรัสเดงกี่จากตัวอย่างลูกน้ำและยุงลาย ด้วยวิธี Reverse Transcription – Polymerase Chain Reaction (RT-PCR)” พ.ศ. 2554

ทุนนักวิจัยหน้าใหม่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี “การศึกษาคุณสมบัติและการจัดจำแนกยีสต์ทนร้อน LKS-1” ปีพ.ศ. 2554

โครงการ ...

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ผศ.ดร.สังวาลย์ แก่นโส

Microbial Diversity, SS rRNA Gene Analysis, Thermophiles, 

Hydrogen and Biogas Production, Waste Utilization, 

Plant Growth Promoting Rhizobacteria.